ราชอาณาจักรโปแลนด์ (ค.ศ. 1917–1918)
ราชอาณาจักรโปแลนด์ (ค.ศ. 1917–1918)

ราชอาณาจักรโปแลนด์ (ค.ศ. 1917–1918)

ราชอาณาจักรโปแลนด์ (โปแลนด์: Królestwo Polskie; เยอรมัน: Königreich Polen) เป็นที่รู้จักกันอย่างไม่เป็นทางการว่า ราชอาณาจักรผู้สำเร็จราชการแผ่นดินแห่งโปแลนด์ (โปแลนด์: Królestwo Regencyjne) เป็นหน่วยการเมืองที่มีอายุสั้นและเป็นรัฐบริวารของจักรวรรดิเยอรมัน ในสงครามโลกครั้งที่ 1[1] ตั้งอยู่ในรัฐบาลสามัญวอร์ซอรัฐบาลเยอรมันได้ใช้นโยบายทางชนชาติที่เข้มงวด เช่น การขับไล่ชาวโปแลนด์ย้ายไปอาศัยในดินแดนบอลติกที่เยอรมันยึดครอง และ การขายทรัพย์สินของชาวโปลให้ชาวเยอรมันเพื่อแลกกับการย้ายไปตั้งถิ่นฐานโปแลนด์ ให้เหมือนกรณีของนโปเลียน โบนาปาร์ตเมื่อ ค.ศ. 1807 ได้ยกดินแดนดยุคแห่งวอร์ซอว์ให้ราชอาณาจักรปรัสเซียภายใต้สนธิสัญญาทิลซิต[2]ภายหลังการสงบศึก 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918 ซึ่งถูกลงนามโดยฝ่ายสัมพันธมิตรกับจักรวรรดิเยอรมนี ซึ่งได้ยุติสงครามโลกครั้งที่ 1 พื้นที่ดังกล่าวก็ได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณรัฐโปแลนด์ที่ 2 ที่ถูกสร้างขึ้นใหม่

ราชอาณาจักรโปแลนด์ (ค.ศ. 1917–1918)

• การสงบศึก 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918
ประมุขแห่งรัฐ  
• ค.ศ. 1916-1918 ว่าง
ภาษาทั่วไป
สกุลเงิน
การปกครอง ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
สถานะ รัฐบริวาร / รัฐหุ่นเชิด
ของจักรวรรดิเยอรมัน
นายกรัฐมนตรี  
• 14 มกราคม - 25 สิงหาคมค.ศ. 1917 สภาเฉพาะกาลแห่งรัฐa
• พระราชบัญญัติ 5 พฤศจิกายน 5 พฤศจิกายน ค.ศ. 1916
• สนธิสัญญาเบรสท์-ลีตอฟสก์ 3 มีนาคม ค.ศ. 1918
• พฤศจิกายน 1917 - กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1918 ยาน คูชัตเซฟสกี
• ค.ศ. 1917-1918 สภาผู้สำเร็จราชการแผ่นดินa
• 4-11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918 ววาดีสวัฟ วตูเบฟสกี
เมืองหลวง วอร์ซอ
• 23 ตุลาคม - 5 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918 ยูแซฟ ซีเวียซินีสกี
• 4 เมษายน - 23 ตุลาคม ค.ศ. 1918 ยาน กานตี สเต็ชสคอฟสกี
พระมหากษัตริย์  
• 27 กุมภาพันธ์ - 4 เมษายน ค.ศ. 1918 อันตอญี ปอนีควอฟสกี
ยุคประวัติศาสตร์ สงครามโลกครั้งที่ 1